บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

ระบบ KU Band และ C Band

รูปภาพ
ระบบ KU Band และ C Band  ร ะบบ KU-Band   จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 10-12 GHz สัญญาณที่ส่งครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย ใช้กับการส่งสัญญาณภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้กับระบบการให้บริการ เคเบิ้ลทีวี ภายในประเทศ ความเข้มสัญญาณจะสูง จึงใช้จานขนาดเล็ก 35-75 ซม. รูปภาพ KU-Band ความถี่          -  จานแดง TRUE จะใช้หัว LNB ความถี่ 11300  - จานสีเทา TRUE UBC จะใช้หัว LNB ความถี่ 11300 หรือ 10750 - จานสีดำ PSI OK จานเล็กทึบ จะใช้หัว LNB ความถี่ 10750 - จานสีเทา,น้ำเงิน SAMART จะใช้หัว LNB ความถี่เป็น 10750 และต้องเปิดสัญญาณ 22 K ด้วย            หรือ Universal - จานสีส้ม IPM จะใช้หัว LNB ความถี่เป็น Universal และต้องหันจานไปรับดาวเทียมไทยคม 5 - จานสีเหลือง DTV จะใช้หัว LNB ความถี่เป็น 11300,10750, Universal  และ 10600 ความถี่ที่ใช้ในการ OTA และช่อง RS SPORT LA LIGA คือ 12313/H/30000 สำหรับ KU-band          และ 3880/V/30000 สำหรับ C-Band หน้าจานหันไปทาง...

ระบบ MATV ,CABLE TV

รูปภาพ
       LNB มีหลายชนิดดวยกัน คือ 1. LNB แบบรับไดทางเดียว LNB ชนิดนี้จะตองนําไปตอรวมกับ Feed Horn ที่ไดเขียนไวใน เรื่องของ Feed horn 2. LNBF แบบมีตัว Feed Horn รวมในตัวเดียวกัน และมีความสามารถรับได 2 ขั้ว ใน ขณะเดียวกัน โดยการใชแรงไฟ จากเครื่องรับ Receiver ไปเปนตัวตัดตอ 3. LNBF แบบใชความถี่เปนตัวควบคุมการเลือกขั้ว V/H LNBชนิดนี้เปนการพัฒนาจาก LNB แบบการใชแรงไฟ ไปตัดตอโดยที่ความถี่ IF ทาง V จะปกติแตความถี่ของทาง H จะบวกไป 600 MHz     LNBF นั้นจะนิยมมาใชเมื่อตอง การแยกเครื่องรับหลาย ๆ บาน หรือไปใชกับงานระบบ SMATV ที่ใชกันตามโรงแรม และอพารทเมนท หรืออาจแบงไดอีกแบบตามตัว Oscillator เปน 1. แบบ PLL (Phase Lock Loop) เปน LNB ที่ใชกับสัญญาณที่มีการ MOD มาเปนแบบ QPSK และมีชวงการเปลี่ยนแปลงของความถี่ 20 kHz เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในชวง40 ํC ถึง 60 ํC 2. แบบ DRO (Dielectric Resonance Oscillator) เปน LNB ที่นํามาใชกับการสื่อสารการ MOD แบบ BPSK และมีชวงการเปลี่ยนแปลงของความถี่ 2 MHz การส่งสัญญาณ LNB 1 ขั่ว 1กล่อง...

ดาวเทียมสื่อสาร

รูปภาพ
เมื่อจรวดบรรทุกดาวเทียมทะยานไปถึงจุดวงโคจรที่เตรียมปล่อยดาวเทียม ณ จุดปล่อยนี้จะต้องมีความสมดุลระหว่าง แรงดึงดูดของโลก  ที่จะคอยดึงดาวเทียมให้ตกลงสู่พื้นโลกและ ความเฉื่อย  ( Inertia ) ในการเคลื่อนที่ของดาวเทียมในอวกาศ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวเทียมในวงโคจรมีค่าความเร็วประมาณ 27,359 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (17,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) เราเรียกความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวเทียมโดยไม่ตกสู่พื้นโลก และไม่ล่องลอยออกไปในอวกาศ เรียกว่า  ความเร็ววงโคจร ( Orbital velocity )  ความสูงจากพื้นโลกของดาวเทียมในอวกาศมีค่าประมาณ242กิโลเมตร( 150 ไมล์)   ความสำคัญของแรง และความเร็วที่กระทำกับดาวเทียม        -  ถ้าโลกไม่มีแรงโน้มถ่วงช่วยดึงดาวเทียม มันจะเคลื่อนที่ลอยออกไปในอวกาศ        -  ถ้าดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เร็วเกินไป มันจะหลุดออกไปจากเส้นทางวงโคจร ในทางกลับกัน        -  ถ้าดาวเทียมเคลื่อนที่ช้าเกินไป แรงโน้มถ่วงของโลกจะดึงดาวเทียมตกลงสู่พื้นผิวโลก ...

คำสั่ง Command Network

รูปภาพ
คำสั่งCommand Promptที่เกี่ยวกับInternet จะมีคำสั่งหลักๆที่สำหรับใช้ตรวจสอบระบบInternet สามารถใช้ได้ที่บ้านหรือในระดับองค์กร ซึ่งจะต้องใช้ผ่าน Command Prompt หรือ เรียกสั้นๆว่า cmd จะมีวิธีเข้าคำสั่งได้ดังนี้ Windows 7 กดปุ่ม Windows+r จะปรากฎหน้าต่าง run ขึ้นมาให้พิมพ์ cmd ลงในช่องแล้วกดEnter กดปุ่ม start พิมพ์คำว่า cmd ลงในช่อง search แล้วกดEnter Windows8.1 – กดปุ่ม Windows+x จะปรากฎแถบขึ้นมาทางล่างซ้าย ใช้เมาส์คลิกเลือก Command Prompt หรือ Command Prompt (Admin) เมื่อหน้าต่างCommand Promptขึ้นมาแล้วที่นี้ก็จะมาใส่คำสั่งสำหรับตรวจสอบ 1.คำสั่ง ping เป็นการทดสอบว่าเส้นทางสื่อสารจากเครื่องที่ใช้อยู่ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในเครือข่าย ว่ามีการใช้งานอยู่หรือไม่ หรือทดสอบเว็บไซด์ว่าสามารถเข้าได้หรือไม่ โดยการพิมพ์ชื่อเครื่อง หรือ IP Address หรือชื่อเว็บไซด์ที่ต้องการตรวจสอบ แบบของคำสั่ง เช่น ping www.google.co.th ping 192.168.0.0 2รูปนี้เป้นการทดสอบว่าสามารถติดต่อสื่อสารได้ รูปนี้ไม่สามารถติดต่อสื่อสารหากั...

ระบบไฟฟ้า-สื่อสาร

รูปภาพ
                      หลักการทำงานของ Fiber optic หลักการของสายไฟเบอร์ออ ฟ ติก       อธิบายโดยใช้หลักการของแสง          ให้ จุดกำเนิดแสงอยู่ที่ S จะมีแสงออกจากจุด S นี้ไปยังจุดต่าง ๆ ของผิวแก้ว ดังรูป ที่จุด A แสงจะพุออกจากแก้วไปยังอากาศโดยไม่มีการหักเห ที่จุด B จะมีการหักเหเล็กน้อย และมีบางส่วนสะท้อนกลับมาในแก้ว ที่จุด C จะมีการหักเหมากขึ้นเล็กน้อย และมีบางส่วนสะท้อนกลับมาในแก้ว ที่จุด D จะไม่มีการหักเห แสงจากจุด S ทั้งหมดจะสะท้อนกลับมาในแก้ว ณ. จุดนี้จะเรียกมุมว่า มุมวิกฤต ( Critical angle) ทำให้เกิดปรากฏการณ์ การสะท้อนกลับหมด ( Total reflection) หาค่ามุม ได้จากสมการ        เมื่อแสงผ่านเข้ามาในสายไฟเบอร์ออพติก(เส้นใยแก้วนำแสง)ที่ทำจากแก้ว จะเกิดการสะท้อนกลับหมดที่ผิวแก้ว (บริเวณที่เป็นรอยต่อของแก้วกับอากาศ) แสงที่สะท้อนนี้จะกลับเข้ามาในสายไฟเบอร์ออพติก(เส้นใยแก้วนำแสง) และเกิดการสะท้อนที่ผิวแก้วอีกด้านหนึ่ง การสะท้อนนี้จะเกิดภายในแก้ว โดยไม่มีการทะลุผ่านผ...